วันอังคารที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

เอกสารอ้างอิง

นายสุกรี ลวกไธสง ณ บ้านตะไก้
หนังสือภูมิปัญญาท้องถิ่นในห้องสมุด

กิตติกรรมประกาศ

การทำโครงงานครั้งนี้ สำเร็จด้วยดี โดยได้รับคำปรึกษา และเอกสารเสนอแนะ นำการค้นคว้า และช่วยเหลือทุกๆด้าน ขอขอบคุณคุณครูทุกท่านที่ให้คำปรึกษา ขอขอบคุณทุกๆท่านที่ให้การสนับสนุนและกำลังใจ

ประโยชน์

1.ผลมะพร้าวอ่อนข้างใน มีน้ำภายในเรียกว่าน้ำมะพร้าว ใช้ดื่มเป็นเกลือแร่ได้ ทั้งนี้น้ำมะพร้าวยังมีคุณสมบัติปลอดเชื้อโรค

2. น้ำมะพร้าวนำไปทำเป็นวุ้นได้

3.เนื้อในมะพร้าวสามารถนำไปทำเป็นน้ำกะทิได้

4.ยอดอ่อนของมะพร้าวหรือเรียกว่าหัวใจมะพร้าวสามารถทำเป็นอาหารได้

5.ใยมะพร้าวนำไปยัดฟูก ทำเสื่อ หรือไปนำไปใช้ในการเกษตร

6.น้ำมะพร้าวได้จากการบีบนำไปปรุงอาหารได้

7.กะลามะพร้าวนำไปทำสิ่งประดิษฐ์ ต่างๆ เช่น โคมไฟ ซออู้ ฯลฯ

วันพุธที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

สามารถนำสิ่งของที่ใช้แล้วมาทำให้เกิดประโยชน์ ใช้เป็นของตกแต่งในบ้านเรือนและสร้างสรรค์ในรูปแบบต่างๆที่เราต้องการและสามารถทำรายได้ให้กับครอบครัวและตนเองได้


ระยะเวลาในการดำเนินงาน
เริ่มปฏิบัติวันที่ 22 พฤศจิกายน 2552
ระยะเวลาดำเนินงาน 22 พ.ย.-25ธ.ค. 2552


สถานที่
หมู่บ้านตะไก้ หมู่ที่8 ต.เมืองพลับพลา อ.ห้วยแถลง จ.นครราชสีมา

วันอังคารที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

วิธีการทำ

ผ่ามะพร้าวเป็น 2 ซีก
ใช้เลื่อยผ่าออกเป็น 2 ซีก

เอาเนื้อมะพร้าวออกด้วยกระต่ายขูดมะพร้าว


นำเนื้อของมะพร้าวแคะออกด้วยมีด


เมื่อได้กะลามะพร้าวในลักษณะนี้


นำกระดาษทรายหยาบมาขัดให้กากมะพร้าวออก




แล้วนำมาเจาะตามรูปแบบที่เราต้องการ




ไขน็อตออกเพื่อต่อสายไฟเข้า



ตัดสายไฟเพื่อแยกสายไฟต่อเข้ากะลามะพร้าว



ยิงกาวเพื่อติดไม้ที่ขอบกะลา



นำไม้ที่ตากมาติดเพื่อปิดบังรอยการยิงกาว




นำสิ่งสร้างสรรค์มาติดที่ขอบฐาน


นำกาวยิงมายิงเพื่อติดกับฐาน



โคมไฟกะลาพร้าว


ได้ทดลองใช้กับนางเพียงใจ ลวกไธสง ในขณะเล่นคอม






















อุปกรณ์



อุปกรณ์

1. กะลามะพร้าวแห้ง
2. สว่านสำหรับเจาะ
3. ดอกสว่าน
4. กระดาษทรายละเอียด
5. กระดาษทรายหยาบ
6. สายไฟ
7. หลอดไฟขนาดเล็ก
8. ปลั๊กไฟ
9. เครื่องยิงกาว
10.วงเวียน ดินสอ ปากกา
11.เลื่อย
12.สีไม้โอ๊ก
13.มีดโต้
14.ไม้ไผ่
15.ตะปู

จุดมุ่งหมาย

1.เพื่อเป็นสิ่งของที่ใช้ประดิษฐ์ประดับตกแต่งบ้านเรือน
2.เพื่อนำวัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ให้ได้มากที่สุด
3.เพื่อเป็นการอนุรักษ์ธรรมชาติ

โครงงาน โคมไฟกะลามะพร้าว


ผู้จัดทำ
นางสาวจันทิมา เตชะโคบุตร ชั้นม.4/5 เลขที่ 2
นางสาวพิลาวรรณ ปินะกะสา ชั้นม.4/5 เลขที่6
นางสาวสุพัตาร บัวจันทร์ ชั้นม.4/5 เลขที่11
นางสาวสุธามาศ เเสงภารา ชั้นม.4/5 เลขที่18
นางสาวจุฑามาศ นวลมิตร ชั้นม.4/5 เลขที่27
นางสาวจุพาศิริ ลวกไธสง ชั้นม.4/5 เลขที่28
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
อาจารย์ศิริพร วีระชัยรัตนา

ความสำคัญของโครงงาน
เนื่องจากปัจจุบันวัสดุที่เหลือใช้ในการาทำกิจกรรมต่างๆของมนุษย์มากขึ้น อาจมีวัสดุบางประเภทที่มีมากในท้องถิ่น อาจนำมาแปรรูปให้เกิดความสวยงามและใช้สอยได้ สามารถนำมาประดิษฐ์เพื่อจำหน่ายหารายได้และทำให้เกิดอาชีพกับคนที่ได้รับการฝึกและคนอื่นที่มีความสนใจ มะพร้าวอยู่กับชาวไทยมานานนับปีมีประโยชน์หลากหลาย
กะลามะพร้าวเป็นพืชที่หาง่ายในท้องถิ่นตามบ้านเรือนนำมาเผาทิ้ง กลุ่มของดิฉันได้เห็นประโยชน์จากกะลามะพร้าวนั้นก็คือ การนำมาประดิษฐ์เป็นโคมไฟ
อาจสามารถนำมาตกแต่งบ้านเรือน สถานที่ต่างๆได้ เมื่อทำให้เกิดความสวยงามแก่ผู้พบเห็น อีกทั้งยังเป็ฯผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มรายได้ในระหว่างเรียนกับนักเรียนด้วย
เมื่อใช้เนื้อและน้ำหมดแล้ว ลูกมะพร้าวนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์กะลามะพร้าวใช้ประโยชน์ ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากกะลามะพร้าวได้รับการพัฒนาให้มีความหลากหลายมากขึ้น เช่น เครื่องประดับ ของช่ำร่วย โคมไฟ ฯลฯ กะลามะพร้าวที่ประดิษฐ์จึงเป็นอีกผลิตภัณฑ์ที่ได้รับความนิยมไม่น้อย ซึ่งปัจจุบันนี้มีการออกแบบโคมไฟในหลากหลายรูปแบบเราจึงสร้างสรรค์รูปแบบของโคมไฟด้วยสิ่งใหม่ที่เป็นเอกลักษณ์

บทคัดย่อ

จาการประดิษฐ์โคมไฟกะลา ซึ่งเป็นวัตถุ เหลือใช้จากท้องถิ่นอาจนำมาประดับตกแต่งบ้านเรือน เพื่อให้เกิดความสวยงาม
จากการประดิษฐ์โคมไฟเป็นการสร้างสรรค์ผลงานออกมาในรูปแบบต่างๆ

สารบัญ

คำนำ ก
สารบัญ ข
บทคัดย่อ 1
ความสำคัญของโครงงาน 2
จุดมุ่งหมาย 2
อุปกรณ์ 3
วิธีทำ 3
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 4
ประโยชน์ที่ได้รับ 5
กิตติกรรมประกาศ 6
เอกสารอ้างอิง 11

คำนำ

รายงานเล่มนี้จัดขึ้น เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษาเกี่ยวกับ การทำสิ่งประดิษฐ์ เรื่องโคมไฟกะลามะพร้าว ว่า วิธีการทำ มีลักษณะรูปร่างเป็นอย่างไร และสามารถใช้งานได้หรือไม่ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้เป็นอย่างดี
ถ้าหากรายงานเล่มนี่มีเนื้อผิดพลาดประการใด ก็ขออภัยมาณ ที่นี้ด้วย

นางสาวสุธามาศ แสงภารา และคณะผู้จัดทำ

โครงานศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นในอำเภอห้วยแถลง จ.นครราชสีมา

วิชา การนำเสนองานด้วยคอมพิวเตอร์
เรื่อง โคมไฟกะลามะพร้าว
จัดทำโดย
นางสาวจันทิมา เตชะโคบุตร เลขที่ 2 ชั้นม.4/5
นางสาวพิลาวรรณ ปินะกาสา เลขที่ 6 ชั้นม.4/5
นางสาวสุพัตรา บัวจันทร์ เลขที่ 11 ชั้นม.4/5
นางสาวสุธามาศ แสงภารา เลขที่ 18ชั้นม.4/5
นางสาวจุฑามาศ นวลมิตร เลขที่ 27ชั้นม.4/5
นางสาวจุฑาศิริ ลวกไธสง เลขที่ 28ชั้นม.4/5

เสนอ
คุณครูศิริพร วีระชัยรัตนา
รายงายเล่มนี้จัดเป็นส่วนของวิชาคอมพิวเตอร์
โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
ปีการศึกษา 2553